วันเสาร์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2554

Bill of exchange


Bill of exchange
ตั๋วแลกเงิน (Bill of exchange) คือ ตราสารการเงินระยะสั้น ที่บุคคลรายหนึ่งสั่งให้บุคคลอีกรายหนึ่ง จ่ายเงินตามจำนวนที่ระบุไว้ในตั๋วแลกเงินนั้น ให้แก่บุคคลอีกรายหนึ่ง ในวันที่กำหนดบนหน้าตั๋วแลกเงินนั้น ตั๋วแลกเงินสามารถซื้อขายเปลี่ยนมือได้ในตลาดเงิน (money market) ส่วนใหญ่จะมีธนาคารหรือสถาบันการเงินค้ำประกัน หรือรับรอง หรือรับอาวัล หรือสลักหลังอย่างไม่มีเงื่อนไข ตั๋วเงินชนิดหนึ่งเป็นตราสารแสดงสิทธิในหนี้ มักใช้ในการซื้อขายสินค้าหรือยืมระยะสั้นจากธนาคาร โดยทั่วไปสามารถซื้อขายแลกเปลี่ยนได้
การออกตั๋วแลกเงิน
แนวคิด
1. ตั๋วแลกเงินต้องมีรายการได้แก่ (1) คำบอกชื่อว่าเป็นตั๋วแลกเงิน (2) คำสั่งอันปราศจากเงื่อนไขให้จ่ายเงินเป็นจำนวนแน่นอน (3) ชื่อหรือยี่ห้อผู้จ่าย (4) ชื่อหรือยี่ห้อผู้รับเงิน หรือคำจดแจ้งว่าให้ใช้เงินแก่ผู้ถือ และ (5) ลายมือชื่อผู้สั่งจ่าย หากรายการดังกล่าวขาดตกบกพร่องไป ย่อมไม่สมบูรณ์เป็นตั๋วแลกเงิน
2. วันถึงกำหนดของตั๋วแลกเงินก็คือ วันถึงกำหนดใช้เงินตามตั๋ว ซึ่งแยกได้เป็น 2 ชนิด ได้แก่ (1) ตั๋วแลกเงินที่สั่งให้ใช้เงินเมื่อทวงถามหรือเมื่อได้เห็น (2) ตั๋วแลกเงินที่กำหนดเวลาให้ใช้เงิน
3. ความรับผิดของผู้สั่งจ่ายหรือผู้สลักหลังตั๋วแลกเงินเกิดขึ้นโดยเงื่อนไขว่าผู้ทรงต้องยื่นตั๋วต่อผู้จ่ายก่อน ถ้าผู้จ่ายไม่รับรองหรือไม่จ่ายเงินและผู้ทรงจัดให้ทำคำคัดค้านแล้วผู้สั่งจ่ายหรือผู้สลักหลังจะใช้เงินแก่ผู้ทรง
4. ข้อกำหนดลบล้างหรือจำกัดความรับผิดและข้อกำหนดลดหน้าที่ของผู้สั่งจ่ายและผู้สลักหลังตั๋วแลกเงินแยกได้ 2 ประการ ได้แก่ (1) ข้อกำหนดลบล้างหรือจำกัดความรับผิดของผู้สั่งจ่ายและผู้สลักหลังที่มีต่อผู้ทรง (2) ข้อกำหนดลดหน้าที่ของผู้ทรงที่มีต่อผู้สั่งจ่ายและผู้สลักหลัง


รายการในตั๋วแลกเงิน
        ตั๋วแลกเงิน หมายถึง หนังสือตราซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้สั่งจ่าย” สั่งบุคคลอีกคนหนึ่งที่เรียกว่า “ผู้จ่าย” ให้ใช้เงินจำนวนหนึ่งแก่บุคคลคนหนึ่ง หรือให้ใช้ตามคำสั่งของบุคคลคนหนึ่ง ซึ่งเรียกว่า “ผู้รับเงิน” ตั๋วแลกเงินจึงเป็นคำสั่งให้จ่ายเงินนั่นเอง
อนุมาตรา (1) คำบอกชื่อว่าเป็นตั๋วแลกเงิน
        คำบอกชื่อว่าตั๋วแลกเงินมีความหมายสำคัญเพื่อให้บุคคลที่เกี่ยวข้องรู้เห็นทราบได้ทันทีว่าตราสารนั้นเป็นตราสารพิเศษ และเนื่องจากเมื่อตราประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ขึ้น ตั๋วเงินเป็นของใหม่ไม่สู้แพร่หลาย จึงต้องบัญญัติให้ระบุลงไปในตั๋วให้ชัดแจ้งว่าเป็นตั๋วแลกเงิน ประกอบกับ Uniform Law (1930) ซึ่งเราอาศัยเป็นหลักในการร่างกฎหมายลักษณะตั๋วเงิน
        สำหรับตั๋วแลกเงินมาจากต่างประเทศ อาจไม่มีคำว่า ตั๋วแลกเงิน (Bill of Exchange) เพราะบางประเทศ กฎหมายของเขาไม่บังคับให้ต้องระบุดังในมาตรา 909 (1) อย่างไรก็ดี คำบอกชื่อว่าตั๋วแลกเงินไม่จำเป็นต้องเขียนที่หัวกระดาษ อาจเป็นข้อความในตั๋วเงินว่า first of exchange ก็ได้
อนุมาตรา (2) คำสั่งอันปราศจากเงื่อนไขให้จ่ายเงินเป็นจำนวนแน่นอน
        รายการนี้เป็นข้อบังคับเด็ดขาด ถ้าขาดไปจะไม่สมบูรณ์เป็นตั๋วแลกเงิน (มาตรา 910) ตามรูปตัวอย่างตั๋วแลกเงินคือ “โปรดจ่ายเงินจำนวนหนึ่งหมื่นบาท” ถ้าไม่กรอกจำนวนเงินเสียเลยหรือกรอกจำนวนเงินมิได้เป็นไปตามที่ผู้สั่งจ่ายขอร้อง ตั๋วแลกเงินนั้นย่อมไม่สมบูรณ์ อธิบายแยกได้เป็น 3 หัวข้อ คือ
ก. คำสั่ง หมายความว่า เป็นคำบงการหรือคำบอก เพื่อให้ทำหรือให้ปฏิบัติโดยไม่ให้โอกาสเลือกทำหรือเลือกปฏิบัติของผู้รับคำสั่งและมิใช่เพียงแต่คำขอร้องหรือคำอ้อนวอนที่ผู้รับคำขอร้องหรือคำอ้อนวอนจะทำตามหรือไม่ก็ได้ อย่างไรก็ดี “คำสั่ง” ก็ไม่จำต้องเขียนลงไปในตัวแลกเงินตรงๆ ว่า “ข้าพเจ้ามีคำสั่งให้จ่ายเงิน” เพราะอาจใช้ถ้อยคำสุภาพลงไปในคำสั่งนั้นได้ เช่น “โปรดจ่ายเงิน” ซึ่งจะไม่ทำให้ตั๋วแลกเงินฉบับนั้นเสียไปเพราะมีความหมายเป็นข้อความกำหนดให้จ่ายเงินโดยผู้จ่ายไม่มีโอกาสเลือกจ่ายหรือไม่จ่ายตามอัธยาศัยของผู้จ่ายเช่นเดียวกัน
ข. อันปราศจากเงื่อนไข หมายความว่า ลักษณะสำคัญที่สุดของตั๋วแลกเงิน คือ ความแน่นอนที่ตั๋วแลกเงินจะต้องได้รับการจ่ายเงินตามตั๋วนั้น จะมีเงื่อนไขในการคำสั่งให้จ่ายเงิน ตั๋วแลกเงินนั้นย่อมเกิดความไม่แน่นอนขึ้น คำว่าเงื่อนไข หมายความว่า เหตุการณ์อันใดอันหนึ่งที่เกิดขึ้นในอนาคตและไม่แน่นอน (เทียบมาตรา 182 เติมมาตรา 144) จึงต่างกับเงื่อนเวลา ซึ่งจะต้องมาถึงในอนาคตอย่างแน่นอน ดั้งนั้น ข้อความในคำสั่งให้จ่ายเงินจะเป็นเงื่อนไขหรือไม่ ต้องพิจารณาถึงความแน่นอนหรือไม่แน่นอนของเหตุการณ์ที่กำหนดไว้ในคำสั่งนั่นเอง
ค. ให้จ่ายเงินเป็นจำนวนแน่นอน หมายความว่า คำสั่งในตั๋วแลกเงินต้องเป็นคำสั่งจ่ายเงินถ้าเป็นคำสั่งให้กระทำการอย่างอื่นนอกจากเงินแล้วจะไม่ใช่ตั๋วแลกเงิน แต่ถ้ามีคำสั่งว่าให้จ่ายเงินและสิ่งของอื่นควบไปด้วย คงมีผลเฉพาะคำสั่งให้จ่ายเงินเท่านั้น ส่วนคำสั่งที่ให้จ่ายสินค้าที่ระบุไว้ ย่อมไม่มีผลแก่ตั๋วแลกเงิน (มาตรา 899) และถ้ามีคำสั่งให้ผู้รับตั๋วแลกเงินเลือกเอาว่าจะรับเงินหรือรับสิ่งของอื่นแทน ดังนี้น่าจะทำไม่ได้ เพราะจะกลายเป็นคำสั่งที่ไม่แน่นอน คำว่า “เงิน” หมายถึง เงินตราที่ชำระหนี้ได้ตามพระราชบัญญัติเงินตรา ตั๋วแลกเงินโดยมากใช้ในระหว่างประเทศ ดังนั้น จึงสั่งจ่ายเป็นเงินตราต่างประเทศก็ได้ (มาตรา 196) คำว่า “เงินจำนวนแน่นอน” หมายความว่า ต้องเป็นเงินจำนวนที่เที่ยงแท้ไม่อาจเปลี่ยนแปลงไปทางเพิ่มหรือทางลดลงได้
อนุมาตรา (3) ชื่อหรือยี่ห้อผู้จ่าย
        รายการข้อนี้บังคับเด็ดขาด ถ้าขาดตกบกพร่องให้ถือว่าไม่เป็นตั๋วแลกเงิน (มาตรา 910)
        ผู้จ่าย คือ ผู้รับคำสั่งให้ใช้เงินตามตั๋วแลกเงิน จึงจำเป็นที่ผู้สั่งจ่ายต้องระบุชื่อผู้จ่ายไว้ในตั๋วแลกเงิน ผู้จ่ายอาจเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ได้ และอาจเป็นบุคคลเดียวหรือหลายคนร่วมกันจ่ายเงินก็ได้ เว้นแต่คำสั่งให้บุคคลหลายคนจ่ายเงินเรียงตามลำดับก่อนหลังโดยไม่ระบุให้รับผิดร่วมกัน หรือคำสั่งให้เลือกผู้จ่ายจากบุคคลหนึ่งบุคคลใดในหลายคนที่ระบุโดยไม่ระบุให้บุคคลเหล่านั้นต้องรับผิดร่วมกันจ่ายเงิน ย่อมทำให้ไม่ทราบตัวผู้จ่ายที่แน่นอนทำให้ตั๋วแลกเงินนั้นเสียไป
        การระบุชื่อจ่าย อาจระบุเพียงตำบลที่อยู่ซึ่งเข้าใจกันก็ได้ การระบุชื่อผู้จ่ายที่ไม่มีตัวตนหรือสมมติขึ้น ก็ไม่ทำให้ตั๋วแลกเงินเสียไป เพราะมีรายการชื่อผู้จ่ายแล้ว และตั๋วแลกเงินไม่มีตัวผู้จ่าย ผู้สั่งจ่ายต้องรับผิดต่อผู้ทรง ส่วนยี่ห้อเป็นชื่อที่บุคคลใช้ในการค้า ไม่เป็นนิติบุคคล การระบุยี่ห้อเป็นผู้จ่ายต้องเข้าใจว่าหมายถึงบุคคลใด ถ้าไม่อาจทราบได้ ก็เท่ากับไม่มีตัวผู้จ่าย ผู้สั่งจ่ายต้องรับผิดต่อผู้ทรง ผู้จ่ายอาจเป็นบุคคลเดียวกันกับผู้สั่งจ่ายตามที่ มาตรา 912 วรรคสอง บัญญัติว่า “ตั๋วแลกเงินจะสั่งจ่ายเอาจากตัวผู้สั่งจ่ายเองก็ได้”
อนุมาตรา (4) วันถึงกำหนดใช้เงิน
วันถึงกำหนดใช้เงิน ย่อมเป็นอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้ คือ
1. ในวันใดวันหนึ่งที่กำหนดไว้
2. เมื่อสิ้นระยะเวลาอันกำหนดไว้นับแต่วันที่ลงในตั๋วนั้น
3. เมื่อทวงถามหรือเมื่อได้เห็น
4. เมื่อสิ้นระยะเวลาอันกำหนดไว้นับแต่ได้เห็น
        รายการนี้ถ้าไม่ระบุไว้ ไม่ทำให้ตั๋วแลกเงินเสียไป แต่กฎหมายให้ถือว่าพึงใช้เงินเมื่อได้เห็น (มาตรา 910 วรรคสอง)
อนุมาตรา (5) สถานที่ใช้เงิน
        สถานที่ใช้เงินนั้น ตามความคิดธรรมดาที่ระบุไว้ก็เพื่อผู้ทรงจะได้รู้ตำแหน่งแห่งที่ในการที่จะเอาตั๋วไปขึ้นเงิน แต่ในกฎหมายตั๋วเงินนั้น ผู้จ่ายยังมิได้เข้าเป็นคู่สัญญาในตั๋วแลกเงิน สถานที่ใช้เงินจึงมีความสำคัญที่ผู้ทรงจะยื่นตั๋วแลกเงินเพื่อให้ผู้จ่ายรับรองหรือเพื่อเรียกร้องให้ผู้จ่ายใช้เงิน ณ ที่ใดตามที่กำหนดไว้ในตั๋วแลกเงินนั้น ถ้าไม่มีสถานที่ใช้เงินตามที่ระบุผู้ทรงต้องทำการคัดค้านไว้ (ม. 962) จึงจะไม่เสียสิทธิไล่เบี้ย (ม. 973) กรณีที่ไม่ได้แถลงไว้ในตั๋วแลกเงิน มาตรา 910 วรรคสาม “ท่านให้ถือเอาภูมิลำเนาผู้จ่ายเป็นสถานที่ใช้เงิน”
อนุมาตรา (6) ชื่อหรือยี่ห้อผู้รับเงินหรือคำจดแจ้งว่าให้ใช้เงินแก่ผู้ถือ
        รายการข้อนี้บังคับเด็ดขาด ถ้าขาดตกบกพร่องไปย่อมไม่สมบูรณ์เป็นตั๋วแลกเงิน ความสำคัญของชื่อหรือยี่ห้อผู้รับเงินคือ ทำให้ผู้จ่ายทราบว่าจะจ่ายเงินให้แก่ใคร จะเป็นนิติบุคคลหรือบุคคลธรรมดาก็ได้ จะเป็นชื่อจริงหรือชื่อสมมุติ หรือตำแหน่งก็ได้ (ถ้าเป็นชื่อสมมุติและไม่มีตัวจริง กฎหมายอังกฤษให้จ่ายแก่ผู้ถือ แต่ของไทยไม่ได้ใช้อย่างนั้น)
อนุมาตรา (7) วันและสถานที่ออกตั๋วเงิน
ก. วันออกตั๋วเงิน หมายความถึงวันที่ระบุในตั๋วเงินนั้นได้ออกเมื่อใด ซึ่งกฎหมายไม่ได้ระบุว่าต้องใช้ “ตามวันแห่งปฏิทิน” ดังนั้นอาจระบุอย่างอื่นได้ เช่น วันเข้าพรรษา ปี 2537 หรือ วันเฉลิมพระชนมพรรษา ปี 2538 เป็นต้น ความสำคัญ คือ
1) แสดงให้รู้กำหนดอายุของตั๋วเงิน ตามชนิดต่าง ๆ เช่น ชนิดใช้เงินเมื่อเห็น หรือ เมื่อสิ้นระยะเวลาอันกำหนดไว้นับแต่ได้เห็นว่า ผู้ทรงต้องนำตั๋วยื่นให้ผู้จ่ายใช้เงินหรือรับรองภายในกำหนด
2) ตั๋วเงินชนิดที่ให้ใช้เงินเมื่อสิ้นระยะเวลาอันกำหนดไว้นับแต่วันที่ลงในตั๋วเงินนั้น วันออกตั๋วเงินมีความสำคัญที่จะต้องระบุไว้ในตั๋วนั้น
3) ต้องใช้ในการคำนวณดอกเบี้ย
- บุคคลที่จะลงวันออกตั๋วเงิน มีได้ 2 คน คือ (1) ผู้สั่งจ่าย (2) ผู้ทรง
1) กรณีผู้สั่งจ่ายเป็นผู้ลงวันออกตั๋วเงิน : ผู้สั่งจ่ายสามารถตั้งใจลงวันให้ผิดความจริงได้ คือ ลงวันย้อนต้น ลงวันถัดไป หรือ ลงวันล่วงหน้า ก็ได้
2) กรณีผู้ทรงเป็นผู้ลงวันออกตั๋วเงิน : ม. 910 วรรคห้า “ถ้ามิได้ลงวันออกตั๋ว ท่านว่าผู้ทรงโดยชอบด้วยกฎหมายคนหนึ่งคนใดทำการโดยสุจริตจะจดวันตามที่ถูกต้องแท้จริงลงก็ได้” และ มาตรา 932 วรรคแรก “ตั๋วแลกเงินฉบับใดเขียนสั่งให้ใช้เงินในกำหนดระยะเวลาอย่างใดอย่างหนึ่งนับแต่วันที่ลงในตั๋วเงินนั้น แต่หากมิได้ลงวันไว้ ฯลฯ ท่านว่าผู้ทรงจะจดวันออกตั๋ว ฯลฯ ลงตามที่แท้จริงก็ได้ แล้วพึงให้ใช้เงินตามนั้น” หมายความว่า ในกรณีที่ผู้สั่งจ่ายมิได้ลงวันออกตั๋วเงินไว้เลย ผู้ทรงโดยชอบด้วยกฎหมายหรือผู้ทำการแทนผู้ทรงโดยชอบย่อมมีสิทธิที่จะจดวันออกตั๋วได้ แต่ต้องเป็นการจดวันตามที่ถูกต้องแท้จริงและการจดวันนั้นต้องจดโดยสุจริต คือ จดตามวันที่ผู้ทรงเชื่อหรือเข้าใจว่าเป็นวันที่ถูกต้องนั่นเอง
        ถ้าผู้ทรงจดวันลงไปไม่ตรงตามที่เป็นจริง ที่เรียกว่า ลงวันคลาดเคลื่อนหรือลงวันผิดนั้น ไม่ว่าผู้ทรงจะสุจริตหรือไม่สุจริตก็ตาม ถ้าตั๋วเงินนั้นโอนต่อไปยังผู้ทรงโดยชอบด้วยกฎหมายคนถัดไปแล้ว ก็ต้องบังคับตาม ม. 932 วรรคสอง “อนึ่ง ท่านบัญญัติไว้ว่า ในกรณีที่ผู้ทรงทำการโดยสุจริตแต่ลงวันคลาดเคลื่อนไปด้วยสำคัญผิดและในกรณีลงวันผิดทุกสถาน หากว่าในภายหลังตั๋วเงินนั้นตกไปยังมือผู้ทรงโดยชอบด้วยกฎหมายแล้ว ท่านให้คงเป็นตั๋วเงินที่ใช้ได้และพึงใช้เงินกันเหมือนดั่งว่าวันที่ได้จดลงนั้นเป็นวันที่ถูกต้องแท้จริง” ที่กล่าวมาในข้อ 2 นี้เป็นกรณีที่ผู้สั่งจ่ายไม่ได้ลงวันออกตั๋วไว้เลย
ข. สถานที่ออกตั๋วเงิน รายการนี้ไม่บังคับเด็ดขาด ม. 910 วรรคสี่ “ถ้าตั๋วแลกเงินไม่แสดงให้ปรากฏสถานที่ออกตั๋ว ท่านให้ถือว่าตั๋วเงินนั้นได้ออก ณ ภูมิลำเนาของผู้สั่งจ่าย”
        ความสำคัญคือ เพื่อให้รู้ว่าเป็นตั๋วเงินภายในประเทศหรือตั๋วเงินออกมาแต่ต่างประเทศ และให้รู้ที่อยู่ผู้สั่งจ่ายในกรณีตั๋วเงินขาดความเชื่อถือโดยผู้จ่ายไม่รับรองหรือไม่ยอมใช้เงิน ผู้ทรงจะได้หาตัวผู้สั่งจ่ายพบ หรือจะได้ส่งคำบอกกล่าวได้ (ม. 963)
อนุมาตรา (8) ลายมือชื่อผู้สั่งจ่าย
รายการนี้บังคับเด็ดขาด ถ้าขาดย่อมไม่สมบูรณ์เป็นตั๋วแลกเงิน (ม. 910)
ม. 9 “เมื่อมีกิจการอันใดซึ่งกฎหมายบังคับให้ทำเป็นหนังสือบุคคลผู้จะต้องทำหนังสือไม่จำเป็นต้องเขียนเอง แต่หนังสือนั้นต้องลงลายมือชื่อของบุคคลนั้น”
ม. 900 วรรคสอง “ถ้าลงเพียงแต่เครื่องหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น แกงได หรือลายพิมพ์นิ้วมือ อ้างเอาเป็นลายมือชื่อในตั๋วเงินไซร้ ถึงแม้ว่าจะมีพยานลงชื่อรับรองก็ตาม ท่านว่าหาให้ผลเป็นลงลายมือชื่อในตั๋วเงินไม่”
9.1.2 วันถึงกำหนดของตั๋วแลกเงิน
วันถึงกำหนดของตั๋วแลกเงิน คือ วันถึงกำหนดใช้เงิน
ม. 913 “อันวันถึงกำหนดของตั๋วแลกเงินนั้นท่านว่าย่อมเป็นอย่างใดอย่างหนึ่งดังกล่าวต่อไปนี้ คือ
(1) ในวันใดวันหนึ่งที่กำหนดไว้ หรือ
(2) เมื่อสิ้นระยะเวลาอันกำหนดไว้นับแต่วันที่ลงในตั๋วนั้น หรือ
(3) เมื่อทวงถามหรือเมื่อได้เห็น หรือ
(4) เมื่อสิ้นระยะเวลาอันกำหนดไว้นับแต่ได้เห็น”แบ่งเป็น 2 ชนิด
ก. ตั๋วแลกเงินที่สั่งให้ใช้เงินเมื่อทวงถามหรือเมื่อได้เห็น (ตาม ม. 913 (3))
- ตั๋วที่ให้ใช้เงินเมื่อเห็น นั้นผู้ทรงต้องยื่นให้ใช้เงินภายในหกเดือน นับแต่วันที่ลงในตั๋วนั้น ม. 944, 928
- ตั๋วที่ให้ใช้เงินเมื่อทวงถาม นั้น ผู้ทรงยื่นตั๋วทวงถามให้ใช้เงินเมื่อใดผู้จ่ายต้องใช้เงินทันที ผู้ทรงเก็บตั๋วไว้ได้นาน อาจจะเป็นสิบปี ตามใดที่ไม่ทวงถาม กำหนดอายุความยังไม่มี อายุความยังไม่เริ่มนับตาม ม. 1001, 1002 นัย ฎ. 404/2515 เว้นแต่เช็ค ม. 990 “ผู้ทรงต้องยื่นเช็คต่อธนาคารเพื่อให้ใช้เงิน คือว่าถ้าเป็นเช็คให้ใช้เงินในเมืองเดียวกันกับที่ออกเช็คต้องยื่นภายในเดือนหนึ่งนับแต่วันออกเช็คนั้น ถ้าเป็นเช็คให้ใช้เงินที่อื่นต้องยื่นภายในสามเดือน ถ้ามิฉะนั้น ท่านว่าผู้ทรงสิ้นสิทธิจะไล่เบี้ยเอาแก่ผู้สลักหลังทั้งปวง ทั้งเสียสิทธิอันมีต่อผู้สั่งจ่ายด้วย เพียงเท่าที่จะเกิดความเสียหายอย่างหนึ่งอย่างใดแก่ผู้สั่งจ่ายเพราะการที่ละเลยเสียไม่ยื่นเช็คนั้น”
ข. ตั๋วแลกเงินที่มีกำหนดเวลาให้ใช้เงิน (ตาม ม. 913 (1) (2) (4))แบ่งเป็น 3 ชนิด
(1) ตั๋วแลกเงินที่สั่งให้ใช้เงินในวันใดวันหนึ่งที่กำหนดไว้ (ตาม ม. 913 (1)) : ปกติจะกำหนดตามวันแห่งปฏิทิน แต่กฎหมายไม่ได้กฎหมายไม่ได้กำหนดไว้ว่า “ตามวันแห่งปฏิทิน” จึงอาจกำหนดเป็นวันอื่นที่แน่นอนได้
(2) ตั๋วแลกเงินที่สั่งให้ใช้เงินเมื่อสิ้นระยะเวลาอันกำหนดไว้นับแต่วันที่ลงในตั๋วนั้น ตาม ม. 913 (2)
(3) ตั๋วแลกเงินที่สั่งให้ใช้เงินเมื่อสิ้นระยะเวลาอันกำหนดไว้นับแต่ได้เห็น ตาม ม. 913 (4) : ผู้ทรงต้องยื่นตั๋วให้เห็นก่อนจึงจะเริ่มนั


ตั๋วเงินคืออะไร?  

ตั๋วเงิน คือ เอกสารเครดิตที่ใช้แทนเงินในวงการธุรกิจ  ตั๋วเงินอาจถูกขายเปลี่ยนมือผู้ถือหรือโอนสลักหลัง
ตั๋วเงินแบ่งเป็น  3  ประเภท  ได้แก่
1. ตั๋วสัญญาใช้เงิน (Promissory Note)
2. ตั๋วแลกเงิน  (Bill of Exchange)
3. เช็ค (Cheque)

1.   ตั๋วสัญญาใช้เงิน  (Promissory Note)
ตั๋วสัญญาใช้เงิน คือ หนังสือตราสารที่บุคคลผู้หนึ่งที่เรียกว่าผู้ออกตั๋ว ให้คำมั่นสัญญาว่าจะใช้เงินจำนวนหนึ่งให้แก่บุคคลอีกบุคคลหนึ่งหรือให้ใช้ตามคำสั่งของบุคคลอีกบุคคลหนึ่งเรียกว่า ผู้รับเงิน 
ตั๋วสัญญาใช้เงินต้องมีข้อความต่อไปนี้
1. คำบอกชื่อว่าเป็นตั๋วสัญญาใช้เงิน
2. คำมั่นสัญญาโดยปราศจากเงื่อนไขว่าจะใช้เงินเป็นจำนวนแน่นอน
3. วันถึงกำหนดใช้เงิน
4. สถานที่ใช้เงิน
5. ชื่อหรือยี่ห้อของผู้รับเงิน
6. วันและสถานที่ที่ออกตั๋วสัญญาใช้เงิน
7. ลายมือชื่อผู้ออกตั๋ว
ตัวอย่างตั๋วสัญญาใช้เงิน


2. ตั๋วแลกเงิน  (Bill of Exchange)
ตั๋วแลกเงิน  คือ  หนังสือตราสารที่บุคคลผู้หนึ่งที่เรียกว่าผู้สั่งจ่าย  สั่งบุคคลอีกผู้หนึ่ง เรียกว่าผู้จ่าย ให้ใช้เงินจำนวนหนึ่งแก่บุคคลหนึ่งหรือให้ใช้ตามคำสั่งของบุคคลอีกคนหนึ่งซึ่งเรียกว่าผู้รับเงิน 
ตั๋วแลกเงินต้องมีข้อความต่อไปนี้
1. คำบอกชื่อว่าเป็นตั๋วแลกเงิน
2. คำสั่งอันปราศจากเงื่อนไขให้จ่ายเงินจำนวนแน่นอน
3. ชื่อหรือยี่ห้อของผู้จ่าย
4. วันถึงกำหนดใช้เงิน
5. สถานที่ใช้เงิน
6. ชื่อหรือยี่ห้อของผู้รับเงินหรือจ่ายให้แก่ผู้ถือ
7. วันและสถานที่ที่ออกตั๋ว
8. ลายมือชื่อผู้สั่งจ่าย

ตัวอย่างของตั๋วแลกเงิน


3.   เช็ค (cheque)
เช็ค  คือ  หนังสือตราสารที่บุคคลคนหนึ่งที่เรียกว่า  ผู้สั่งจ่าย  สั่งธนาคารให้ใช้เงินจำนวนหนึ่งเมื่อทวงถาม  ให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่งหรือให้ใช้ตามคำสั่งของบุคคลอีกคนหนึ่งซึ่งเรียกว่า 
ผู้รับเงิน เช็คต้องมีข้อความต่อไปนี้
1. คำบอกชื่อว่าเป็นเช็ค
2.  คำสั่งอันปราศจากเงื่อนไขให้จ่ายเงินจำนวนแน่นนอน
3. ชื่อหรือยี่ห้อของผู้รับเงินหรือจ่ายให้แก่ผู้ถือ
4. ชื่อหรือยี่ห้อและสำนักงานของธนาคาร
5. สถานที่ใช้เงิน
6. วันและสถานที่ออกเช็ค
7. ลายมือชื่อผู้สั่งจ่าย

ตัวอย่างของเช็ค

 

รายละเอียดต่างๆ  เกี่ยวกับตั๋วเงิน
1. เงินหน้าตั๋ว  (Face  Value)  คือ  จำนวนเงินที่ระบุไว้ในตั๋ว
2. วันถึงกำหนด   (Maturity  Date)   คือ  วันที่ผู้ออกตั๋วจะต้องจ่ายเงินให้แก่ผู้ถือตั๋วตามสัญญาใช้เงิน
3. เงินถึงกำหนด  (Maturity  Value)  คือ  เงินหน้าตั๋วบวกดอกเบี้ยตามตั๋วสัญญาใช้เงิน
4.เงินส่วนลด คือ  เงินที่ผู้ถือตั๋วถูกหักไว้เป็นค่าป่วยการ เนื่องจากนำตั๋วไปขายก่อนถึงวันกำหนด เงินที่ได้รับหลังจากหักเงินส่วนลดแล้วเรียกว่าเงินปัจจุบัน และวันที่นำตั๋วเงินไปขายเรียกว่าวันคิดลด และการนับจำนวนวันสำหรับคิดเงินส่วนลดให้เริ่มนับหลังจากวันคิดลด 1  วัน จนถึงวันกำหนด
 ดังนั้น  เงินส่วนลด        =         เงินถึงกำหนด   อัตราส่วนลด   เวลา 

วันพุธที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2554

International Organization

International Organization
คำศัพท์เกี่ยวกับองค์กรระหว่างประเทศ
UNSC:   United Nations Security Council   คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ
UNWTO:  World Tourism Organization   องค์การท่องเที่ยวโลก
ILO:   International Lobour Organization   องค์การแรงงานระหว่างประเทศ
ECOSOC:   Economic and Social Council   คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติ
WIPO:   World Intellectual Property Organization   องค์กรทรัพย์สินทางปัญญาโลก
NAFTA:   North American Free Trade Agreement   ข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ
UNWTO:  World Tourism Organization   องค์การท่องเที่ยวโลก
UNIFEM:   United Nations Development Fund for Women   กองทุนสหประชาชาติเพื่อการพัฒนาสตรี
SAFTA:   South Asian Free Trade Area   เขตการค้าเสรีในเอเชียใต้
SEAMES:  Southeast Asian Ministers of Education Secretariat   สำนักงานเลขาธิการรัฐมนตรีศึกษาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
UNDP:   United Nations Development Program   สำนักงานโครงการพัฒนาแห่งประชาชาติ
ICAO:   International Civil Aviation Organization   องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ
UNEP:   United Nations Environment Programme   องค์การสิ่งแวดล้อมโลก
UNICEF:  United Nations Children’s Fund   กองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ
ITU:   International Telecommunication Union   สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ
UNCITRAL:   United Nations Commission on International Trade Law   คณะกรรมาธิการสหประชาชาติว่าด้วยกฎเกณฑ์การค้าระหว่างประเทศ
อ้างอิงจาก http://th.wikipedia.org/w/index.php?title

Documents Used in Import – Export


Import/Export Procedures and Documentation

Classroom 

Use effective import/export procedures to get your products to and from customers and suppliers on time and hassle-free—and protect your company’s investment!

The opportunities for importing and exporting have never been greater, but the details involved in these operations have never been more complex!

Using these import/export procedures, you’ll be equipped to deal successfully with banks, freight forwarders, customs brokers, and foreign customers. Find out how to use the necessary documents to obtain the greatest cost benefit for your company and timely execution of your orders. 

How You Will Benefit

  • Discover the latest import/export procedures and guidelines
  • Get freight forwarders and bankers to work together to solve your logistics problems
  • Maximize the services of general and bonded warehouses
  • Prevent excessive duties by using foreign trade zones
  • Avoid the pitfalls of improper documentation

What You Will Cover

  • Documenting your shipment
  • Executing smooth import transactions
  • Complying with NAFTA and other origin requirements, trademark and copyright regulations
  • Observing industry standards
  • Avoiding customs penalties
  • Getting help from freight forwarders and customs brokers
  • Establishing mutually beneficial relationships
  • Getting paid and make payments using letters of credit and documentary collections





วิธีนำเข้า / ส่งออกและเอกสาร

 การสัมมนาในห้องเรียน 

ใช้วิธีการนำเข้า / ส่งออกที่มีประสิทธิภาพที่จะได้รับผลิตภัณฑ์ของคุณไปยังและจากลูกค้าและคู่ค้าเกี่ยวกับเวลาและยุ่งยาก - free - และปกป้องการลงทุนของ บริษัท ของคุณ!

โอกาสที่สำหรับการนำเข้าและการส่งออกไม่เคยมีมากขึ้น แต่รายละเอียดที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการเหล่านี้ไม่เคยมีความซับซ้อนมากขึ้น! โดยใช้วิธีการนำเข้า / ส่งออกเหล่านี้คุณจะต้องติดตั้งในการจัดการประสบความสำเร็จกับธนาคารส่งต่อการขนส่ง, โบรกเกอร์ศุลกากรและต่างประเทศ ลูกค้า ค้นหาวิธีการใช้เอกสารที่จำเป็นในการได้รับผลประโยชน์ค่าใช้จ่ายที่ยิ่งใหญ่ที่สุดสำหรับ บริษัท ของคุณและการดำเนินการทันเวลาของการสั่งซื้อของคุณ


วิธีที่คุณจะได้รับประโยชน์

  • ดูผลการล่าสุดขั้นตอนนำเข้า / ส่งออกและแนวทางปฏิบัติ
  • รับส่งต่อการขนส่งสินค้าและธนาคารเพื่อทำงานร่วมกันเพื่อแก้ปัญหาโลจิสติกของคุณ
  • เพิ่มการบริการในการทั่วไปและคลังสินค้าถูกผูกมัด
  • หน้าที่ป้องกันไม่ให้มากเกินไปโดยใช้โซนการค้าต่างประเทศ
  • หลีกเลี่ยงการผิดพลาดของเอกสารที่ไม่เหมาะสม

สิ่งที่คุณจะครอบคลุม

  • เอกสารการจัดส่งสินค้าของคุณ
  • การดำเนินธุรกรรมการนำเข้าได้อย่างราบรื่น
  • NAFTA การปฏิบัติตามระเบียบและข้อกำหนดของแหล่งกำเนิดอื่น ๆ เครื่องหมายการค้าและลิขสิทธิ์
  • การสังเกตมาตรฐานอุตสาหกรรม
  • หลีกเลี่ยงการลงโทษศุลกากร
  • ขอความช่วยเหลือจากตัวส่งต่อการขนส่งสินค้าและนายหน้าศุลกากร
  • การสร้างความสัมพันธ์ประโยชน์ร่วมกัน
  • การรับชำระเงินและชำระเงินโดยใช้ตัวอักษรของเครดิตและสารคดีคอลเลกชัน

OVERVIEW

Export Documentation & Procedures; Letters of Credit; Using the Harmonized Tariff Schedule; Air & Ocean Transportation: Logistics Management for the International Supply Chain; Import Documents & Procedures; Latest changes in Uniform Customs and Practice for Documentary Credits (UCP 600).

WHO SHOULD ATTEND

  • BUSINESS EXECUTIVES, MANAGERS and STRATEGIC PLANNERS whose companies already trade internationally or are contemplating trading;
  • PROFESSIONALS, LAWYERS, IN-HOUSE COUNSELS, CONSULTANTS, ACCOUNTS, whose career path involves export-import;
  • CORPORATE LEADERS, PRESIDENTS, DIRECTORS, CEO's, CFO's who are required to handle big picture issues and challenges;
    Importer/Exporter Coordinators
  • Import Export Controllers
  • Credit Managers
  • Traffic Managers
  • VPs of International Operations

TOPICS & SCHEDULE OF THE CONFERENCE

Export Documentation & Procedures • Export Administration Regulations – Product or Technology’s Classification and Country of End Use
• Preparing Proper Export Documents and Shipper’s Export Declaration in compliance with US Trade Regulations
Import Documentation & Procedures • Declaring proper tariff classification & value to Customs
• Country of origin declaration & marking
• Import quotas and visas
• Preparing proper import documents
• Duty reduction programs and regimes
• Developing a Customs compliance program
• Record-keeping requirements
Practical Import Duty Saving Tips That Can Enhance Profitability• Foreign Trade Zones
• Duty Drawback
• Bonded Warehouses
• Temporary Importations Under Bond
Practical Tips on Protecting Your Intellectual Property Rights• Record Your Copyrights and Trademarks with Customs & Border Protection
• Let Customs & Border Protection Help You Enforce Your Rights

Trade Security• Customs-Trade Partnership
Practical Import Duty Saving Tips That Can Enhance Profitability• Foreign Trade Zones
• Duty Drawback
• Bonded Warehouses
• Temporary Importations Under Bond
Practical Tips on Protecting Your Intellectual Property Rights• Record Your Copyrights and Trademarks with Customs & Border Protection
• Let Customs & Border Protection Help You Enforce Your Rights

Trade Security• Customs-Trade Partnership Against Terrorism (C-TPAT)
• Container Security Initiative (CSI)

What To Do When You Are Assessed A Penalty By Customs & Border Protection• Types of Penalties
• Prior Disclosures
Negotiating & Drafting International Sales Agreements
• Negotiating International Sales Agreements with customers in other jurisdictions
• Resolving disputes relating to International Sales
• Common mistakes companies make and avoidance strategies
Export Risk Mitigation Techniques• Identifying risks in cross-border sales
• Risk Mitigation when selling on letter-of-credit terms
• Risk mitigation using bank guarantees
• Risk mitigation when selling on draft-collection terms
• Risk mitigation when selling on open account terms
• Managing foreign exchange rate fluctuation risk
Global Logistics: Issues of Air & Ocean Transportation • The Export Process Overview & Global Shipping
• The Role of the International Freight Forwarder
• Licensing for Freight Forwarders
• Third Party Logistics Provider Overview
• Carrier Liability & Cargo Insu
 
Export Assistance for U.S. Exporters from the U.S. Department of Commerce• Identifying the most promising markets
• Procuring customized international market research
• Making contacts and arranging appointment schedules for overseas visits
• Facilitating participation in trade shows, trade missions, and catalog shows
• Investigating potential international partners
• Financing for export sales through the SBA
• Locating overseas agents, distributors, and importers

International Trade Finance
• Post-Export Financing• Pre-Export Financing• Pre-Import Financing
USA EXIM Bank & Export Finance
• EXIM Bank Export Financing
• Financing for export sales through the U.S. Export Import Bank
Letters of Credit and Alternative International Payment Methods • Cost and risks of the various letter of credit options
• Opening of a letter of credit and limiting discrepancies under it
• Payment under the terms of the Letter of Credit 
• The Rules governing letters of credit under UCP600
• Alternatives to letters of credit in financing international transactions

INCOTERMS & International Sales of Goods Act
• Terms used in international trade and sales
• International Rules Applicable to International Exports and Imports
 NAFTA and Other Bi-Lateral Agreements Product Qualifying Rules• Benefits to U.S. Import
• Rules of Origin
• Eligibility under Bi-Lateral Trade Agreements
Tariff Classification Under the Harmonized Tariff Schedule• Overview of Tariff Classification Principles
• Schedule B and Harmonized Tariff Schedule
Export Controls & Embargoes• US Export Controls
• Trade Embargoes / Country Sanctions
• Anti-boycott Compliance
• Enforcement of Export Controls - Criminal and Civil
Corporate Experience in Exporting Importing: Practical Tips• How we imported from different countries
• Getting documentation right
• Choosing right codes & Customs Procedures
• Payment terms: thinking out of the box
• Building Personal Relationships: solving quality, paperwork & communication
problems
• Quality issues: remedies in international importin

ภาพรวมของ

เอกสารการส่งออกและขั้นตอนการ; เลตเตอร์ออฟเครดิต; เมื่อใช้ตารางพิกัดฮาร์โมไน; แอร์แอนด์โอเชี่ยนขนส่ง : การบริหารจัดการโลจิสติกสำหรับห่วงโซ่อุปทานระหว่างประเทศเอกสารนำเข้าและขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงล่าสุดในศุลกากรเครื่องแบบและวิธีปฏิบัติในการเครดิตสารคดี (UCP 600)

ประโยชน์ของการเข้าร่วม

  • การเรียนรู้ขั้นตอนการส่งออกและนำเข้า
  • การประกันความปลอดภัยของเงินลงทุนโดย บริษัท ที่ดีกว่ารู้วิธีการดำเนินงานของกิจการวิเทศธนกิจ
  • การขจัดข้อผิดพลาดในเอกสาร
  • การแก้ปัญหาโลจิสติก
  • ข้อกำหนดทางกฎหมายของการส่งออกและนำเข้า
  • เรียนรู้เกี่ยวกับใหม่UCP600 ซึ่งแทนที่UCP500
  • การใช้เขตการค้าเสรีเพื่อลดการปฏิบัติหน้าที่
  • ความรู้เกี่ยวกับการจำแนกประเภทพิกัดอัตราอากรภายใต้ระบบฮาร์โมไน
  • เรียนรู้การส่งออกและการนำเข้าซับซ้อนจากผู้เชี่ยวชาญ
  • ผลของธนาคารกลางสหรัฐและสื่อของรัฐเพื่อการส่งออกของสหรัฐ
  • เครือข่าย และโต้ตอบกับวิทยากรและผู้เข้าร่วมประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และเรียนรู้เกี่ยวกับโอกาส

ที่ควรเข้าร่วม

  • นักธุรกิจผู้บริหารและนักวางแผนกลยุทธ์ที่มี บริษัท การค้าในต่างประเทศแล้วหรือกำลังใคร่ครวญค้า;
  • วิชาชีพทนายความในบ้านที่ปรึกษาที่ปรึกษาบัญชีที่มีอาชีพเกี่ยวข้องกับการเส้นทางการส่งออกและนำเข้า;
  • ผู้นำองค์กรอธิการบดีกรรมการและซีอีโอของซีเอฟโอของผู้ที่จะต้องจัดการกับปัญหาภาพใหญ่และความท้าทาย
    ประสานงานนำเข้า / ส่งออก
  • การควบคุมการนำเข้าส่งออก
  • ผู้จัดการฝ่ายเครดิต
  • ผู้จัดการฝ่ายการจราจร
  • VPS ของการดำเนินงานระหว่างประเท

หัวข้อและตารางเวลาของการประชุม

เอกสารการส่งออกและขั้นตอน•การส่งออกระเบียบบริหาร -- สินค้าหรือการจำแนกเทคโนโลยีและประเทศในการใช้งาน End
•จัดเตรียมเอกสารการส่งออกที่เหมาะสมและปฏิญญาว่าด้วยการส่งออกขนส่งสินค้าในสอดคล้องกับสหรัฐการค้าระเบียบ

เอกสารนำเข้าและขั้นตอน•การประกาศการจำแนกอัตราภาษีที่เหมาะสมและคุ้มค่าให้กับศุลกากร
•ประเทศผู้ผลิต การประกาศและการทำเครื่องหมาย
โควต้านำเข้า•และวีซ่า
•จัดเตรียมเอกสารนำเข้าที่เหมาะสม
•โปรแกรมการลดภาษีและระบอบ
•การพัฒนาโปรแกรมการปฏิบัติตามศุลกากร
•ข้อกำหนดการเก็บบันทึกข้อมูล
อากรขาเข้าปฏิบัติออมทรัพย์เคล็ดลับที่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการทำกำไร•เขตพื้นที่การค้าต่างประเทศ
คืนอากร•
•คลังสินค้าถูกผูกมัด
•การนำเข้าเป็นการชั่วคราวตามตราสารหนี้
เคล็ดลับการปฏิบัติในการปกป้องสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาของคุณ•บันทึกลิขสิทธิ์และเครื่องหมายการค้าของคุณด้วยศุลกากรและป้องกันชายแดน
•แจ้งให้ศุลกากรและป้องกันชายแดนช่วยให้คุณบังคับใช้สิทธิของการรักษาความปลอดภัยการค้าระหว่างประเทศ • - Customs ค้าต่อต้านการก่อการร้าย (C - TPAT) •การรักษาความปลอดภัยคอนเทนเนอร์ Initiative (CSI ) สิ่งที่ต้องทำเมื่อคุณมีการประเมินการลงโทษโดยศุลกากรและป้องกันชายแดน •ประเภทของการลงโทษ •การเปิดเผยข้อมูลก่อน
การเจรจาต่อรองและการร่างข้อตกลงการขายระหว่างประเทศ
•การเจรจาต่อรองการขายระหว่างประเทศข้อตกลงกับลูกค้าในเขตอำนาจศาลอื่น ๆ
•ข้อพิพาทการแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการขายระหว่างประเทศ
• บริษัท ข้อผิดพลาดทั่วไปทำและกลยุทธ์ในการหลีกเลี่ยง
เทคนิคการส่งออกลดความเสี่ยง•ความเสี่ยงที่ระบุในการขายข้ามพรมแดน
ลดความเสี่ยง•เมื่อขายในแง่ของตัวอักษรของเครดิต
การลดความเสี่ยง•การใช้หนังสือค้ำประกันของธนาคาร
ลดความเสี่ยง•เมื่อขายในแง่ของร่างคอลเลกชัน
ลดความเสี่ยง•เมื่อขายในแง่ของบัญชีเปิด
• ผู้จัดการความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยนผันผวนของต่างประเทศ
โลจิสติกทั่วโลก : ปัญหาของแอร์แอนด์โอเชี่ยนขนส่ง•ภาพรวมการส่งออกและการจัดส่งสินค้าทั่วโลก
•บทบาทของ Freight Forwarder เป็นนานาชาติ
การออกใบอนุญาต•การส่งต่อการขนส่ง
โลจิสติก•พรรคที่สามรายละเอียดของผู้ให้บริการ
รับผิดของผู้ขนส่งและ•การประกันภัยสินค้า
การให้ความช่วยเหลือเพื่อการส่งออกส่งออกสหรัฐจากกระทรวงพาณิชย์สหรัฐฯ•การระบุตลาดมีแนวโน้มมากที่สุด•จัดหาการวิจัยตลาดระหว่างประเทศที่กำหนดเอง
•การติดต่อและการจัดตารางการนัดหมายสำหรับการเข้าชมในต่างประเทศ
•การอำนวยความสะดวกการมีส่วนร่วมในงานแสดงสินค้าภารกิจการค้าและการแสดงให้เห็นถึงแคตตาล็อก
•การศึกษาระหว่างประเทศที่มีศักยภาพ พันธมิตร
ทางการเงินสำหรับการขาย•การส่งออกผ่าน SBA 
•ตั้งตัวแทนในต่างประเทศจัดจำหน่ายและผู้นำเข้า
การค้าระหว่างประเทศการเงิน• การให้สินเชื่อการส่งออกและโพสต์• การเงิน Pre - ส่งออก• เงินทุนนำเข้า Pre -
สหรัฐอเมริกา EXIM Bank และการส่งออกการเงิน
•การเงิน EXIM Bank การส่งออก
•สินเชื่อสำหรับการขายการส่งออกผ่านธนาคารเพื่อการส่งออกนำเข้าสหรัฐฯ
เลตเตอร์ออฟเครดิตและทางเลือกวิธีการชำระเงินระหว่างประเทศ•ค่าใช้จ่ายและความเสี่ยงของตัวอักษรที่หลากหลายของตัวเลือกเครดิต
เปิด•จากตัวอักษรของเครดิตและความแตกต่างภายใต้มัน จำกัด
•ชำระเงินภายใต้เงื่อนไขของตัวอักษรของเครดิต
•กฎระเบียบที่ควบคุมเลตเตอร์ออฟเครดิตภายใต้ UCP600
•ทางเลือกให้กับเลตเตอร์ออฟเครดิตในการจัดหาเงินทุนทำธุรกรรมระหว่างประเทศIncoterms และการขายระหว่างประเทศของสินค้าตามพระราชบัญญัติ •เงื่อนไขที่ใช้ในการค้าระหว่างประเทศและการขาย •กฎที่ใช้บังคับเพื่อการส่งออกและนำเข้าระหว่างประเทศ

NAFTA และอื่น ๆ Bi - Lateral สินค้าข้อตกลงการคัดเลือกกฎ•ประโยชน์ให้แก่ผู้นำเข้าและส่งออกของสหรัฐ
•กฎแหล่งกำเนิดสินค้า
ภายใต้การมีสิทธิ์• Bi - Lateral ข้อตกลงการค้า
การจำแนกประเภทพิกัดอัตราอากรภายใต้ตารางอัตราค่าฮาร์โมไน•ภาพรวมของหลักการจำแนกประเภทพิกัดอัตราอากรขา
•ตาราง B และตารางพิกัดฮาร์โมไน
ควบคุมการส่งออกและ Embargoes•การควบคุมส่งออกของสหรัฐอเมริกา
• Embargoes การค้า / การลงโทษประเทศ
•มาตรฐานการต่อต้านการคว่ำบาตร
•การบังคับใช้ควบคุมการส่งออก -- อาญาและทางแพ่ง
ประสบการณ์การทำงานขององค์กรในการส่งออกนำเข้า : เคล็ดลับการปฏิบัติ•วิธีการที่เรานำเข้าจากต่างประเทศ
•การที่เหมาะสมในเอกสาร
•การเลือกรหัสที่เหมาะสมและพิธีการศุลกากร
•เงื่อนไขการชำระเงิน : คิดออกจากกล่อง
•การสร้างความสัมพันธ์ส่วนบุคคล : การแก้คุณภาพเอกสารและการสื่อสาร
ปัญหา
ปัญหา•คุณภาพ : การเยียวยาในระหว่างการนำเข้า
 

international organazation

international organazation